ระบบ pdpa เก็บข้อมูลอะไร ?

เราจัดเก็บข้อมูล หนังสือยินยอมการใช้ข้อมูลต่างๆ ในช่องทางต่างๆ จากเจ้าของข้อมูล 1. เก็บเอกสาร หรือ content ที่มีข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งหมด 2. เชื่อมโยงเป็นทางผ่าน กับฐานข้อมูลส่วนบุคคลกับ ระบบงานอื่นๆ ถ้าตรวจสอบจะทราบว่า มีการเรียกใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของใคร และเรียกจากระบบใด โดยเอา log หรือฐานข้อมูลกาา Access จากระบบนั้นๆ มาเก็บที่ ระบบ pdpa 3. เก็บเรื่องกระบวนการ flow ร้องขอข้อมูล ขอทำลายข้อมูล ขอเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรือขอยกเลิกการอนุญาตใช้ข้อมูล 4. มีระบบรายงานผล และการค้นหา การใช้ข้อมูลส่วนบุคคลทั้งหมดในองค์กร ผู้ที่เรียกใช้ข้อมูลผู้ที่ปรับเปลี่ยนข้อมูล ผู้ที่ลบข้อมูล รายชื่อข้อมูลที่ลบ

ระบบของเรามันเป็นยังไง มันคือการเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่ไปใส่ไว้ในโปรแกรม PDPAใช่หรือไม่ ?

บริการ Assessments ด้านข้อมูล PDPA คือ จัดทำว่า 1. ข้อมูลที่จัดเก็บในองค์กร มีข้อมูล ที่เป็นส่วนบุคคล ส่วนไหนบ้าง ส่วนไหน เป็นข้อมูลส่วนบุคคลตามกฏหมาย ส่วนไหนเป็น Sensitive Data 2. การ จัดเก็บที่ใดบ้าง ในระบบใดบ้าง ในฐานข้อมูลใดบ้าง และมีความถี่ในการใช้ข้อมูลอย่างไรบ้าง 3. การเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ส่วนงานใด เข้าถึงข้อมูลได้บ้าง เข้าในลักษณะใด 4. มี log ในการเข้าถึงข้อมูลแต่ละประเภทอย่างไร 5. ที่มาของข้อมูล มาได้อย่างไร และได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลอย่างไร

วิธีการปฏิบัติเมื่อประชาชนมายื่นคำขอ

วิธีการปฏิบัติเมื่อประชาชนมายื่นคำขอ (1) พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่รับคำขอ 1.1 ตรวจสอบคำขอ (แบบคำขอให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ในคู่มือสำหรับประชาชนของ แต่ละกระบวนงาน) 1.2 จัดทำแบบตรวจสอบคำขอและบันทึกข้อบกพร่องสำหรับคู่มือฯ ประกอบด้วยส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 (แบบตรวจสอบคำขอและบันทึกข้อบกพร่องสำหรับคู่มือฯ ของแต่ละกระบวนงาน พร้อมคำชี้แจงในการกรอก ในภาคผนวก 2) เพื่อใช้ตรวจสอบรายการเอกสารหรือหลักฐานที่ยื่นมาพร้อมคำขอว่าถูกต้องครบถ้วนตามที่คู่มือสำหรับประชาชนกำหนด โดยให้ทำเป็น 2 ฉบับ ต้นฉบับเก็บที่สำนักงาน และส่งสำเนาให้กับผู้ยื่นคำขอ 1.3 ตรวจสอบแล้วพบว่าไม่ถูกต้องครบถ้วน ให้แจ้งผู้ยื่นคำขอแก้ไขทันที (เรียกได้ครั้งนี้ ครั้งเดียว หากเลยระยะเวลานี้แล้วจะเรียกไม่ได้) หากผู้ยื่นคำขอไม่สามารถแก้ไขได้ทันที ให้บันทึกข้อบกพร่อง ในแบบตรวจสอบคำขอและบันทึกข้อบกพร่องสำหรับคู่มือฯ ในส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 ซึ่งถือว่าเป็นบันทึกสองฝ่ายระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่และผู้ยื่นคำขอ           (2) หากผู้ยื่นคำขอไม่แก้ไขความบกพร่องหรือส่งเอกสารเพิ่มเติมภายในระยะเวลาที่ตกลงไว้ในแบบตรวจสอบคำขอและบันทึกข้อบกพร่องสำหรับคู่มือฯ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่คืนคำขอให้แก่ผู้ยื่นคำขอพร้อมทั้งแจ้งเป็นหนังสือถึงเหตุแห่งการคืนคำขอ (แบบหนังสือคืนคำขอ ในภาคผนวก 3) (3) เมื่อผู้ยื่นคำขอแนบเอกสารครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในคู่มือสำหรับประชาชนแล้ว หรือได้ส่งเอกสารเพิ่มเติมตามที่ระบุแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะเรียกเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมอีกไม่ได้ เว้นแต่เป็นกรณีที่ความไม่สมบูรณ์หรือความไม่ครบถ้วนนั้น […]

แสดงวิธีการดำเนินการโดยย่อของแต่ละคู่มือ

แสดงวิธีการดำเนินการโดยย่อของแต่ละคู่มือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการให้เป็นไป ตามคู่มือสำหรับประชาชนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ แบบย่อ ในภาคผนวก 1 โดยให้หน่วยงานปิดประกาศ ณ สถานที่ที่กำหนดให้ยื่นคำขอทุกแห่ง

การมอบหมายพนักงานเจ้าหน้าที่

การมอบหมายพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ผู้อนุญาตมอบหมายพนักงานเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนงานตามคู่มือสำหรับประชาชน เพื่อทำหน้าที่ตามที่พระราชบัญญัติฯ กำหนด

การเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชน

การเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชน (1) คู่มือกลาง เผยแพร่ทางเว็บไซด์กรมส่งเสริมสหกรณ์ แบนเนอร์พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 และแบนเนอร์ศูนย์รวบรวมข้อมูลเพื่อติดต่อราชการ www.info.go.th (2) สำนักงานสหกรณ์จังหวัด/สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 – 2 ปิดประกาศคู่มือสำหรับประชาชนของหน่วยงานไว้ ณ สถานที่ที่กำหนดให้ยื่นคำขอทุกแห่ง และเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชนของหน่วยงาน ทางเว็บไซด์หน่วยงาน  

กระบวนการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทาง     ราชการ พ.ศ. 2558

กระบวนการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทาง ราชการ พ.ศ. 2558 เมื่อพระราชบัญญัติฯ มีผลบังคับใช้ ให้ส่วนราชการดำเนินการในเรื่องต่างๆ ดังนี้ การจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน ตามพระราชบัญญัติฯ                         (1) ส่วนกลาง โดยสำนักนายทะเบียนและกฎหมาย และกองพัฒนาระบบสนับสนุนการสหกรณ์ดำเนินการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนและได้รับอนุมัติในระบบสารสนเทศของ สำนักงาน ก.พ.ร. โดยให้ถือเป็นคู่มือกลาง (2) สำนักงานสหกรณ์จังหวัด/สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 – 2 ดำเนินการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนที่เกี่ยวข้องในระบบสารสนเทศ โดยใช้คู่มือกลางประกอบ ในการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนของหน่วยงาน

กองพัฒนาระบบสนับสนุนการสหกรณ์ จำนวน 8 กระบวนงาน 

กองพัฒนาระบบสนับสนุนการสหกรณ์ จำนวน 8 กระบวนงาน                 คู่มือที่ 18. การอนุมัติเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ให้แก่สหกรณ์ กรณีวงเงินไม่เกิน 5 ล้านบาท คู่มือที่ 19. การอนุมัติเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ให้แก่สหกรณ์ กรณีวงเงินเกิน 5 ล้านบาท คู่มือที่ 20. การอนุมัติให้เงินกู้แก่กลุ่มเกษตรกร คู่มือที่ 21. การอนุญาตให้สมาชิกนิคมสหกรณ์เข้าทำประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์ (กสน.3) คู่มือที่ 22. การออกหนังสือแสดงการทำประโยชน์ (กสน.5) คู่มือที่ 23. การขออนุญาตใช้ที่ดินในเขตนิคมสหกรณ์ คู่มือที่ 24. การขออนุญาตใช้ที่ดินในเขตนิคมสหกรณ์ (การลงนามในสัญญา) คู่มือที่ 25. การขออนุญาตเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์การใช้ที่ดินที่ได้รับเอกสารสิทธิ์ในเขตนิคมสหกรณ์